หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
บวชแล้ว "พ่อแม่ผู้ปกครอง" และ "ครู" ได้อะไร
บวชแล้ว "พ่อแม่ผู้ปกครอง" ได้อะไร ๑.พ่อแม่ได้เป็นญาติกับพระพุทธศาสนา ๒.ได้สร้างบุญกุศลใหญ่ให้กับองศ์ตระกูล ครอบครัว และญาติมิตร
เผชิญวิกฤตเศรษฐกิจอย่างเป็นธรรม
เวลาข้าวยากหมากแพง ควรทำอย่างไรดี ? สำหรับคนที่ทำบัญชีและประหยัดทุกอย่างแล้วแต่ยังเครียดเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจ จะต้องทำอย่างไร?....
ลูกทำกรรมอะไรมาจึงป่วยเป็นโรคมะเร็งถึง ๒ ครั้ง และต้องทรมานกับโรคอีสุกอีใสจนเกือบเอาชีวิตไม่รอด
ลูกคลำเจอก้อนเนื้อเล็กๆที่ใต้รักแร้ คุณหมอ ๓ ท่านแรกวินิจฉัยว่าลูกน่าจะเป็นต่อมน้ำเหลืองอักเสบ ไม่น่าจะเป็นมะเร็ง เพราะอายุก็ยังไม่มาก ร่างกายก็แข็งแรงดี ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และตรวจสุขภาพเป็นประจำ
กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงสิ่งที่เกิดขึ้นได้ยาก ๔ ประการ คือ “การได้เกิดมาเป็นมนุษย์ก็นับว่ายาก การดำรงชีวิตอยู่ของเหล่าสัตว์ก็นับว่ายาก การที่จะได้ฟังสัทธรรมก็นับว่ายาก การที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายจะเสด็จอุบัติขึ้นก็ยิ่งยาก”
ศีล ๕ สิกขาบท สุราเป็นตัวสำคัญ : มรดกธรรมของหลวงปู่วัดปากน้ำ
ถ้าล่วงสุราเสียสิกขาบทเดียวเท่านั้นแหละ อีก ๔ สิกขาบทรักษาอยู่ไม่ได้ สลายหมด
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๒)
ผู้เขียนและคณะได้เรียบเรียงบทความที่สรุปโดยย่อ “เส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา” ตั้งแต่ยุคเริ่มต้นจนถึงฉบับนี้ ยุคพุทธศตวรรษที่ ๑๙ นับเป็นเวลา ๑ ปีพอดีที่ได้นำเสนอสู่สายตาของเหล่าสมาชิกผู้ใจบุญทุกท่าน และเชื่อว่าคงเกิดภาพและความเข้าใจมากขึ้น ซึ่งผู้เขียนและคณะต่างปลื้มปีติที่ได้ประมวลเรื่องราวดี ๆ นี้ แล้วนำเสนอแด่ทุกท่านเป็นธรรมทาน
วิธีสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ร่วมกันได้อย่างร่มเย็นเป็นสุข
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนวิธีสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ร่วมกันได้อย่างร่มเย็นเป็นสุขไว้อย่างไร?
ปฏิทินโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลกครั้งที่ ๓